Cryptocurrency, Blockchain technology
Futuristic User Interface Illustration
Circuit Technology Illustration Vector

รายงานการพัฒนางานตามข้อตกลง

Performance Agreement : PA

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ

ประจำปีงบประมาณ 2566


นางวิภา กันสีเวียง

โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย


Circuit Technology Logo Vector
Next Page
Futuristic Frame Element Shape

-CONTENTS-

สารบัญ

Futuristic Frame Element Shape

ผู้จัดทำข้อตกลง

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

ตามมาตรฐานตำแหน่ง

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

ที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนา

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

futuristic frame modern decoratian

แบบข้อตกลง

ในการพัฒนางาน (PA)

Futuristic User Interface Illustration
futuristic frame modern decoratian

ประเด็นท้าทาย

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

futuristic frame modern decoratian

ข้อมูล

ผู้รับการประเมิน

Futuristic User Interface Illustration

2. ด้านการส่งเสริมและ

สนับสนุนการจัดการเรียนรู้

Futuristic Frame Element Shape
Futuristic User Interface Illustration

3. ด้านการพัฒนาตนเองและ

วิชาชีพ

Futuristic Frame Element Shape
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
futuristic frame modern decoratian
Circuit Technology Illustration Vector
Futuristic  Technology blue frame
It Software Development Laptop Programmer Monitor Computer Icon
Coding Programming Application Computer Icon
Development Program Programmer Monitor Management Computer Icon

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ (ทุกสังกัด)

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ.2566

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

Circuit Technology Illustration Vector
Next Page
Home Button Icon
Next Page

ดูร่องรอยหลักฐาน

ประกอบตัวชี้วัด

Futuristic User Interface Illustration
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
futuristic frame modern decoratian
Futuristic  Technology blue frame

ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)

สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ (ทุกสังกัด)

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ.2566

นางวิภา กันสีเวียง

ครู

ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย

คศ.3

54,850 บาท

ห้องเรียนวิชาสามัญฐาน


ข้อมูลผู้รับการประเมิน

ชื่อ-นามสกุล

ตำแหน่ง

วิทยฐานะ

สถานศึกษา

สังกัด

เงินเดือนในอันดับ

อัตราเงินเดือน

ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้







Circuit Technology Illustration Vector
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง


1. ด้านการจัดการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration

1.1 สร้างและหรือพัฒนา

หลักสูตร

Futuristic User Interface Illustration

1.5 วัดและประเมินผล

การเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

1.2 ออกแบบการจัดการ

เรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

1.6 ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์

และหรือวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหา

หรือพัฒนาการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม

และพัฒนาผู้เรียน

Futuristic User Interface Illustration

1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ

นวัตกรรม เทคโนโลยี

และแหล่งเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

1.8 อบรมและพัฒนา

คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

ริเริ่ม คิดค้น พัฒนารายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของสถานศึกษาผู้เรียน และท้องถิ่น เพื่อแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ ส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร


ข้าพเจ้าดำเนินการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม สาระการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยคลอบคลุมเนื้อหาของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็มศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น ตามภาระงานสอนที่ได้รับมอบหมาย ผลจากการดำเนินการดังกล่าวส่งผลให้โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นักเรียนได้เรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา และตัวชี้วัดตรงตามสมรรถนะ ในหลักสูตรแต่ละชั้นปี และเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษา

กับผู้อื่นในการสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร ดังนี้

1. หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. โครงการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

ริเริ่ม คิดค้น ปรับเปลี่ยน การออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้

ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่น ในการออกแบบการจัดการเรียนรู้สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร


ข้าพเจ้าดำเนินการจัดทำและพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์โลก

และอวกาศ (ว31102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร โดยมี การปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น และสอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชา ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ เหมาะสมกับผู้เรียน บริบทของสถานศึกษา และท้องถิ่น ตามภาระงานสอนที่ได้รับมอบหมาย ผลจากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามโครงสร้างรายวิชาและหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดตามธรรมชาติวิชา ตามหลักสูตรสถานศึกษา และได้รับการพัฒนาในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร และเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ดังนี้

1. หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2. โครงการจัดการเรียนรู้ โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

3. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

4. เอกสารให้คำปรึกษา/บันทึกการให้คำปรึกษา

Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน นวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ ทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ

เรียนรู้และทำงานร่วมกัน มีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง และสร้างแรงบันดาลใจ เผยแพร่และขยายผลนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่น สร้างการเปลี่ยนแปลงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ข้าพเจ้าได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ วิธีสอน และเทคนิคการสอนในแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้ทักษะกานนำเสนอองค์ความรู้ เรื่อง ธรณีพิบัติทในรูป Infographicsููจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสำคัญอย่างหลากหลาย ตรงตามศักยภาพในช่วงวัยของผู้เรียน และเผยแพร่และขยายผลนวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่น สร้างการเปลี่ยนแปลงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้

1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2. นวัตกรรม

3. การเผยแพร่นวัตกรรม

4. เอกสารการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้สามารถแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้ เผยแพร่และขยายผลสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้


ข้าพเจ้าได้ออกแบบการจัดการเรียนรู้รูปแบบ การเรียนรู้ วิธีสอน และเทคนิคการสอนในแผนการ จัดการเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้. รายวิฃา วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยเน้นกระบวนการจัดการเรียนรู้รูปแบบใช้ทักษาการนำเสนอองค์ความรู่้ เร่องธรณีพิบัติ ในรูปแบบ infographics โดยมุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาให้มีกระบวนการเรียนรู้หลากหลาย โดยเน้นการใช้แพลตฟอร์ม Canva แก่ผู้เรียน ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ผู้เรียนได้ ผลมสัมฤทธิ์ทางการเรียนราวิชาวิทยาศษสตร์โลกและอวกาศ (ว32102) ระดับผลการเรียน 3 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 60 และมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ในระดับมากที่สุด และได้เรียนรู้จาก สร้างชิ้นงาน การนำเสนอองค์ความรู้รวมทั้งเผยแพร่และขยายผลสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเป็นแบบอย่างที่ดี ดังนี้

1. สื่อ/นวัตกรรม

2. การเผยแพร่สื่อ/นวัตกรรม

3. การใช้สื่อและนวัตกรรม

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้


ข้าพเจ้าดำเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และครอบคลุมทั้งด้านพุทธิพิสัยหรือด้านความรู้ (K), ด้านทักษะพิสัยหรือด้านทักษะ (P) และด้านเจตพิสัย หรือด้านเจตคติ (A) โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน , แบบทดสอบหลังเรียน , แบบประเมินผลการปฏิบัติ กิจกรรม และแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดหรือผล การเรียนรู้ และจุดประสงค์การเรียนรู้ดำเนินการวัดปละประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อปรับปรุง พัฒนา ตัดสินผลการเรียนรู้ ความก้าวหน้าและพัฒนาการของผู้เรียนที่สะท้อนระดับคุณภาพของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียนได้รับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย ครอบคลุมทักษะ.การนำเสนอองค์ความรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้

1. รายงานแผนการจัดการเรียนรู้

2. เครื่องมือการประเมินผลและวัดผล

3. เอกสารสรุปการประเมินการวัดผลประเมินผล

Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector

1.6 ศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัย

เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการริเริ่ม คิดค้น วิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และนำผลการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัยมาใช้แก้ไขปัญหาหรือพัฒนา ปรับเปลี่ยนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น มีการเผยแพร่และขยายผลนวัตกรรมและงานวิจัยจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในวงวิชาชีพเป็นแบบอย่างที่ดีและสามาร คำปรึกษากับผู้อื่นในการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และหรือวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้


ข้าพเจ้าได้ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ รายวิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ จากการศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ผลการเรียนของนักเรียน และพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และนำไปสู่กระบวนการแก้ปัญหาด้วยการวิจัยและพัฒนา ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาตามกระบวนการวิจัยและครูผู้สอนได้นำมาใช้ในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ คือ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ รหัสวิชา31102

ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

โดยใช้ทักษะการนำเสนอองค์ความรู้ เรื่องธรณีพิบัติ ในรูปแบบ Infographics

และมีการเผยแพร่และขยายผลนวัตกรรมและงานวิจัยจนนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในวงวิชาชีพเป็นแบบอย่างที่ดีดังนี้

1. นวัตกรรม

2. รายงานการนำไนวัตกรรมไปใช้

3. การเผยแพร่และขยายผลนวัตกรรมและงานวิจัย

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration
Circuit Technology Illustration Vector
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector

1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน การจัดบรรยากาศที่เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ และสร้างแรงบันดาลใจส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงานทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน


ข้าพเจ้าได้ดำเนินการจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมและเอื้อต่อการเรียนรู้ กระตุ้นความ สนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา อบรมบ่มนิสัย เพื่อให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด จากการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะชีวิตจากการให้ผู้เรียนได้ลงมือคิด ดำเนินกิจกรรม และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทักษะ การทำงาน จากการปฏิบัติกิจกรรมที่มอบหมายทั้งลักษณะงานเดี่ยวและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริม ให้ผู้เรียนเกิดทักษะและกระบวนการคิด ในการเรียนรู้อย่างสูงสุด ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการจัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียน พัฒนาทักษะเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความกล้าในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ส่งผลให้ผู้เรียน มีความสุขในการเรียนรู้ เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนดังนี้

1. การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน

2. บันทึกการใช้สื่อ

3. รายงานสื่อ ทะเบียนการใช้สื่อ

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

1. ด้านการจัดการเรียนรู้

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

Futuristic User Interface Illustration

ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ริเริ่ม พัฒนา (Originate & Improve)

มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม โดยริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน รูปแบบ การดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคลและสามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนได้ เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน


ข้าพเจ้าปลูกฝังค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี เหมาะสมกับผู้เรียนให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมี ค่านิยมที่ดีงาม และปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตลอดจน การส่งเสริม และเป็นแบบอย่างให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในวันสำคัญต่างๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนาที่ตนนับถือ สถาบัน พระมหากษัตริย์ ทั้งที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความ มั่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เพื่อค้นหาความถนัดและความชอบของตน โดยคำนึงถึงความ ปลอดภัยและความสุขของผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนมีความตั้งใจ เคารพในกฎกติกาข้อตกลงของโรงเรียน มีวินัยในและส่งงานที่คุณครูมอบหมาย มีสมาธิในการเรียน เคารพในสถานบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นในการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ดังนี้

1. แบบบันทึกการอบรมในชั้นเรียน

2. แบบบันทึกคุณธรรมจริยธรรมในห้องเรียน

3. โครงงานคุณธรรมของห้องเรียน

Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration

2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศ

ของผู้เรียนและรายวิชา

Futuristic User Interface Illustration

2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและ

งานอื่น ๆ ของสถานศึกษา

Futuristic User Interface Illustration

2.2 ดำเนินการตาม

ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

Futuristic User Interface Illustration

2.4 ประสานความร่วมมือกับ

ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย

และหรือสถานประกอบการ

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา

Futuristic User Interface Illustration

มีการริเริ่ม คิดค้น พัฒนา ปรับเปลี่ยน รูปแบบ การจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา ให้มีข้อมูลเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้


ข้าพเจ้ามีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา ให้เป็นปัจจุบันเพื่อใช้ในการส่งเสริมและ สนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ชั้นเรียน เก็บข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน (แบบบันทึกผลคะแนนตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด) รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ในรายวิชา แก้ไขปัญหา และพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียน ได้รับการกำกับ ติดตามจากครูผู้สอนจากข้อมูล สารสนเทศของผู้เรียน (แบบบันทึกผลคะแนนตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด) รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ (ว31102) และให้คำปรึกษากับผู้อื่น ดังนี้

1. แบบบันทึกผลคะแนนตามมาตรฐาน/ตัวชี้วัด

2. แบบบันทึกคุณลักษณะอันพึงประสงค์

3. แบบบันทึกสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน

Futuristic User Interface Illustration

มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาผู้เรียน และริเริ่มโครงการหรือจัดกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน เป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้


ข้าพเจ้าดำเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อ พัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียน รวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลของ ผู้เรียน ตลอดจนออกเยี่ยมบ้านนักเรียน เพื่อจัดทำและใช้สารสนเทศของผู้เรียนรายบุคคล ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ นักเรียน ได้รับการกำกับ ติดตามจากครูผู้สอนด้วยวิธีการที่ หลากหลาย ตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดีและให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้ ดังนี้

1. รายงานการเยี่ยมบ้าน

2. ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล

3. การคัดกรองนักเรียน

Next Page
Home Button Icon
Next Page

ดูร่องรอยหลักฐาน

ประกอบตัวชี้วัดทั้งหมด

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา

Futuristic User Interface Illustration

ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการพัฒนารูปแบบหรือแนวทางการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้


ข้าพเจ้าได้ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษา มีการวิเคราะห์หลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยวิเคราะห์ตามตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ ปฏิบัติหน้าที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประสานความร่วมมือกับกลุ่มบริหารงานวิชาการ ปฏิบัติงานตามคำสั่ง ของผู้บังคับบัญชาเกี่ยวกับงานวิชาการและงานอื่นๆของสถานศึกษา เช่น งานแนะุแนว ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียน ได้รับการพัฒนา การแนะแนวเข้าการศึกษาต่อ ม.1และ ม.4 มีจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น การให้คำปรึกษาการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น และการช่วยเหลือด้านทุนการ ศึกษาตามลำดับความจำเป็น และ การให้คำปรึกษาแก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือ และเป็นแบบอย่างที่ดีและให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้ดังนี้

1. รายงานการแนะแนวการเข้าศึกษาต่อ ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2566

2. รายงานการเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566

3. รายงานด้านทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2565

Next Page
Home Button Icon
Next Page

กิจกรรมด้านทุนการศึกษา

ดูร่องรอยหลักฐาน

ประกอบตัวชี้วัดทั้งหมด

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page

กิจกรรมการแนะแนวการศึกษาต่อ

ดูร่องรอยหลักฐาน

ประกอบตัวชี้วัดทั้งหมด

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ

Futuristic User Interface Illustration

การประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนเป็นแบบอย่างที่ดีและสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่นได้


ข้าพเจ้าใช้หลักกัลยาณมิตร และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทุกกลุ่ม ทุกเพศ และทุกวัย จึงได้รับการยอมรับจากผู้บริหารโรงเรียน ผู้ร่วมงาน เด็ก ผู้ปกครองและประชาชนทั่วไป อีกทั้งมี ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีบุคลิกภาพที่ดี มีความสามารถประสานงาน มีเหตุผลสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ มี เทคนิคการพูด ชักชวน เสนอแนะ ให้กำลังใจ ทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยสามารถวางตัวในการเป็นผู้นำ ผู้ตาม และเป็นผู้ให้ ผู้รับ ที่ดีมีหลักในการทำงาน มีความบริสุทธิ์ยุติธรรมและทำงานอย่างโปร่งใส ปราศจากอคติ ยึดประโยชน์ของเด็ก และส่วนรวมเป็นที่ตั้ง จึงประสบความสำเร็จในการทำงานเป็นทีมได้รับการยอมรับจาก ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้ปกครอง และนักเรียน ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการดูแลให้คำแนะนำจาการประสานความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษาและผู้ปกครองผ่านเครือข่ายผู้ปกครอง ดังนี้

1. การให้บริการแก่ผู้ปกครองและเครือข่าย

2. การร่วมงานกับเครือข่าย

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง


3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

Futuristic User Interface Illustration
Futuristic User Interface Illustration

3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็น

ระบบและต่อเนื่อง

Futuristic User Interface Illustration

3.2 มีส่วนร่วม และเป็นผู้นำใน

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ

เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่ได้

จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

มาใช้ในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้


Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง

Futuristic User Interface Illustration

เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สมรรถนะวิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน เป็นแบบอย่างที่ดีสามาร ให้คำปรึกษากับผู้อื่น และเป็นผู้นำในวงวิชาชีพ


ข้าพเจ้ามีการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทักษะ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะ วิชาชีพครูและความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการสอน และเข้ารับการอบรม จากทั้งหน่วยงานภายใน กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานภายนอก ดังนี้

1. เกียรติบัตร

2. ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ครู โรงเรียน

ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้รับการพัฒนาจากครูผู้สอนที่ผ่านการศึกษาหาความรู้ และการอบรมจากทั้งหน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานภายนอก ประกอบด้วย.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเป้าหมาย

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

3.2 มีส่วนร่วม และเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้

นำผลจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหา และสร้างหรือปรับเปลี่ยนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพสูงขึ้น เป็นแบบอย่างที่ดีสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่น และเป็นผู้นำในวงวิชาชีพ


ข้าพเจ้าได้ เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดยจัดตั้งวง PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูในกลุ่มมาพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียน ได้รับการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ทำให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ ดังนี้


1. แบบบันทึกการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

2. ตารางการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

Next Page
Home Button Icon
Next Page
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

3.3 นำความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้

Futuristic User Interface Illustration

การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพผู้เรียน เป็นแบบอย่างที่ดีสามารถให้คำปรึกษากับผู้อื่น เป็นผู้นำและสร้างการเปลี่ยนแปลงในวงวิชาชีพ


ข้าพเจ้าได้นำความรู้ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ผู้เรียน และเพื่อเป็นการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมในด้านต่าง ๆ มา นำเสนอ อภิปราย และคิดวิเคราะห์ในการนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา เช่น


1. จากการอบรมอบรมสัมมนาการจัดการศึกษาสำหรับโลกยุคใหม่ ให้สอดคล้องกับการประเมินวิทยะฐานะ (How Learning Work 7+1)

“ทำงานเดียวได้ทั้งเด็ก ได้ทั้งครู”

ผลจากการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลให้นักเรียนได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ทันสมัย เช่น ออกแบบและสร้างสรรค์ Infographic



1. เกียรติบัตร

2. การจัดทำนวัตกรรมที่สืบเนื่องจากการอบรม

3. กิจกรรมที่สืบเนื่องจากการอบรม

Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Urban technology concept
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
Futuristic User Interface Illustration

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนา

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน


ประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

Futuristic User Interface Illustration

ประเด็นท้าทาย

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เรื่อง อาหาร รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว32101

ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม

โดยการจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุก (Active Learning)


Next Page
Home Button Icon
Next Page
Urban technology concept
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
Futuristic User Interface Illustration

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

วิทยาศาสตร์มีความสำคัญต่อมนุษย์และสังคมในทุกยุคทุกสมัย เพราะเรานำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไใช้ในการประกอบอาชีพต่าง ๆ และใช้ในการดำรงชีวิตประจำวันวิทยาศาสตร์ ช่วยให้เกิดองค์ความรู้และความเข้าใจ ในปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทำให้คนมีการพัฒนา กระบวนการคิด

ที่เป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะที่สำคัญในการค้นคว้าหา ความรู้ สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ตัดสินใจได้โดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่หลากหลาย

และ ใช้ประจักษ์พยาน ที่ตรวจสอบได้ในปัจจุบันโลกเป็นสังคมแห่งความรู้ (Knowledge-based society)ทุกคนจึงจำเป็น

ต้องได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์ เป้าหมายหนึ่งของการศึกษาวิทยาศาสตร์คือให้ นักเรียนทุกคนเป็นผู้รู้วิทยาศาสตร์ ( Scientific literacy for all students) ซึ่งสามารถนำเอาความรู้ไปใช้ทั้งในอาชีพและงานทางด้านวิทยาศาสตร์

จากการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5 พบว่า พฤติกรรมของ

ผู้เรียนที่ผู้วิจัยสังเกตเห็นได้ คือ ผู้เรียนมีไม่ค่อยตั้งใจเรียนบ่นเนื้อหายาก เพราะเป็นเนื้อหาเชิงคำนวณ และไม่ค่อยได้ทำการทดลอง ทำให้เรื่อง น้ำ ผู้วิจัยได้ทดลองแบ่งกลุ่มนักเรียนคละระดับผลการเรียนเพื่อแข่งขันกันตอบปัญหาเก็บคะแนนระหว่างเรียนเนื้อหา บรรยายพบว่านักเรียนมีความสนใจ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนมากขึ้นและจากการวิเคราะห์ แบบทดสอบเก็บคะแนนของ นักเรียน พบว่า นักเรียนสามารถตอบคำถามในส่วนที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการ เรียนรู้เป็นเพราะว่าผู้เรียนนำประสบการณ์ของตนเองจากการลงมือปฏิบัติจริงมาตอบคำถามแต่เมื่อ เป็นข้อคำถามที่ผู้วิจัยใช้วิธีการบรรยายในชั้นเรียนเพียงอย่างเดียวนักเรียนส่วนใหญ่จะตอบคำถามไม่ถูกต้อง ซึ่ง สอดคล้องกับนิยามการเรียนรู้ของ สกินเนอร์ (Skinner, 1997) ที่ว่าการเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เป็นผลอันเกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่อธิบายการเรียนรู้ว่าเกิดจากการวางเงื่อนไขของ สิ่งเร้าซึ่งผู้เรียนต้องลงมือกระทำหรือปฏิบัติเพื่อหาทางแก้ปัญหาจึงจะได้รับผลที่พึงพอใจHการเรียนการสอนเชิงรุก (Active learning) เน้นให้ผู้เรียนเป็น Active learner มากกว่าที่จะเป็น Passive learner จากการศึกษางานวิจัยของ Sweller (2006) พบว่า การเรียนการสอนเชิงรุก (Active learning) มีความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ในด้านการเรียนรู้เพื่อความเข้าใจ และการนำความรู้ ที่ได้มา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ส่งเสริมให้ผู้เรียนตื่นตัวต่อการเรียนรู้ การกระตือรือร้นด้านการรู้คิดมากกว่าที่ผู้สอน สอนโดยการสอนแบบบรรยายเพื่อท่องจำเพียงอย่างเดียว โดยเป็นรูปแบบการสอนเชิงรุก (Active learning) ซึ่งใช้เทคนิคการสอนได้แก่ การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning group) การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) และ การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) ซึ่งผู้วิจัยมีความคาดหวังเป็นนอย่างยิ่งว่าจะช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ พร้อมกับเรียนรู้อย่างสนุกสนาน เรียนรู้ร่วมกัน เป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความรู้ช่วยกันภายในกลุ่ม และเกิดความคงทนในการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์นำความสามารถที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวัน วางแผน (Plan) บูรณาการความรู้ (Integration) สู่ทักษะชีวิต (Life skills) ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญของวิชาวิทยาศาสตร์ และช่วยให้นักเรียนมีคุณสมบัติแห่งบุคคลในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ์

ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจจะศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการสอนเชิงรุก (Active learning) เรื่อง

รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5 โรงเรียนเชียงแสนวิทยาคม ในระดับ 3ร้อยละ 50ขึ้นไป

และผู้เรียนจะมีความพึงพอใจ


Next Page
Home Button Icon
Next Page
Urban technology concept
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector
Futuristic User Interface Illustration

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

ใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ที่เรียกว่า SCCER ดังนี้

S – Share

- รวมกลุ่มครู

- ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ในทุกชั้นปี

- ร่วมกันเขียนแผนจัดการเรียนรู้ให้ครอบคลุมทุกตัวชี้วัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

- ร่วมกันจัดเตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และเอกสารประกอบในทุกแผนการจัดการเรียนรู้

C – Collective

- กำหนดเป้าหมายร่วมกันในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

- กำหนดความสำเร็จร่วมกันในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ให้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดเกิน 60%

C - Collaboration

- การกำหนดพันธะสัญญาร่วมมือกัน ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การแก้ปัญหา และการทดสอบ

E – Expert

- เชิญผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนรู้ ร่วมเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้

- เชิญผู้รู้ร่วมสังเกตการณ์จัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน และบันทึกผลการจัดการเรียนรู้

R – Reflect

- ร่วมกันวิพากษ์การสอน และการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ท้ายทุกแผน

- ร่วมสรุปรายงานผลการจัดการเรียนรู้ทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อการปรับแผนการจัดการเรียนรู้ในครั้งต่อไป รวมทั้งการรายงานการประเมินผลกลางภาค และรายงานการประเมินผลปลายภาคเรียน


Next Page
Home Button Icon
Next Page
Urban technology concept
Circuit Technology Illustration Vector
Circuit Technology Illustration Vector

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.1 เชิงปริมาณ

ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิทยาศาสตร์กายภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ 5 ในระดับ 3ร้อยละ 50 ขึ้นไป

3.2. เชิงคุณภาพ

ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ในระดับมากที่สุด



Futuristic User Interface Illustration
Next Page
Home Button Icon
Next Page
Cryptocurrency, Blockchain technology
Futuristic User Interface Illustration
Circuit Technology Illustration Vector

Thank

you!

Circuit Technology Illustration Vector
Next Page
Home Button Icon